บทที่2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ เป็นกระบวนการที่ช่วยรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์และกำหนดประเด็น รวมไปถึง การเผยแพร่องค์ความรู้ที่มีประโยชน์และมีความจำเป็นต่อการพัฒนา
และความเจริญก้าวหน้าขององค์กร
จุดมุงหมายของการจัดการความรู้
เป้าหมายหลักของการจัดการความรู้ คือ การใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ที่ได้มีการรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์และกำหนดประเด็น รวมไปถึงการเผยแพร่องค์ความรู้ เพื่อ
ประสิทธิภาพและความเจริญก้าวหน้าขององค์กร โดยผ่านการสนับสนุนจากเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่อใช้เก็บรวบรวมและเผยแพร่ วัตถุประสงค์โดยทั่วไป
ของการจัดการความรู้ มีดังต่อไปนี้
1. เพื่อให้องค์กรตระหนักและเห็นความสำคัญของความรู้ที่มีอยู่ในตัวของแต่ละบุคคล และในองค์กรโดยนำความรู้นั้นมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งในแง่ของการทำงานและวิถีการดำเนินชีวิต
2. มีการนำเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ เช่น การเผยแพร่องค์ความรู้ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน การนำระบบอินทราเน็ตมาใช้ในการติดต่อ และเปลี่ยนองค์ความรู้ภายในและระหว่างหน่วยงาน
3. เพื่อสร้างและพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายในองค์กร โดยการนำองค์ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ระบบการดูแลช่วย
เหลือผู้เรียนในสถานศึกษา ระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน เป็นต้น
ภาพจาก Web Site https://menchiearmillo.wordpress.com/2016/03/20/ikm-unit-3-assiggment-1/
ข้อมูลภาพ ณ วันที่ 17-2-62
ภาพจาก Web Site https://slideplayer.in.th/slide/2275498/
ข้อมูลภาพ ณ วันที่ 17-2-62
แปล
ค้นพบความรู้: การพัฒนาอย่างชัดเจน หรือโดยปริยายความรู้ใหม่ จากข้อมูล หรือ จากการสังเคราะห์ความ
รวมการค้นพบความรู้ใหม่ที่ชัดเจน
ความรู้ที่ชัดเจนหรือใหม่ยิ่งซับซ้อนมีการสร้างรูปแบบหลายองค์ความรู้อย่างชัดเจนผ่านการบูรณาการและการจัดระบบ - การเขียนข้อเสนอ
การค้นพบทางสังคม
การค้นพบทางสังคมความรู้ใหม่ที่ชัดเจน
การสังเคราะห์โดยปริยายความรู้ข้ามบุคคลผ่านกิจกรรมร่วมกันแทนการเรียนการสอนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือทางวาจา
จับความรู้: กระบวนการในการดึงความรู้ชัดแจ้ง หรือโดยปริยายที่อยู่ในคน วัตถุ หรือหน่วยงานองค์กร
การสกัดความรู้ออกจากตัวคน - แปลงความรู้ฝังลึกเป็นความรู้ที่ชัดเจน Ex: ที่ปรึกษาด้านการเขียนเอกสารอธิบายบทเรียนที่ทีมงานได้เรียนรู้เกี่ยวกับ บริษัท ลูกค้า
การฝังหรือผนึกความรู้ แปลงความรู้ให้เป็นความรู้ฝังลึก Ex: ที่ปรึกษาด้านซอฟต์แวร์ใหม่อ่านหนังสือบนนวัตกรรม การพัฒนาซอฟต์แวร์ และเรียนรู้จากมัน
แบ่งปันความรู้: กระบวนการความรู้ที่ชัดแจ้ง หรือหรือจะแบ่งปันให้กับบุคคล
1. การถ่ายทอดที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้เข้าใจได้ดีพอ ที่จะทำ หรือมีความสามารถที่จะดำเนินการตามนั้น
2. แบ่งปันความรู้แนะนำตามความรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้
3. แบ่งปันความรู้ใช้สถานที่ในแต่ละบุคคล แผนก กลุ่ม องค์กร
ประยุกต์ความรู้: ใช้ความรู้เพื่อเป็นแนวทางตัดสินใจและการกระทำ
- ความรู้ก่อให้เกิดประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรมากที่สุดเมื่อใช้การตัดสินใจ และดำเนินงาน
- ทิศทาง: การประมวลผลความรู้ของแต่ละบุคคลโดยตรงการกระทำของผู้อื่นโดยไม่ได้รับการถ่ายโอน
- การปฏิบัติ: การใช้ประโยชน์จากความรู้ที่ฝังอยู่ในขั้นตอนกฎระเบียบและแนวทางในพฤติกรรมในอนาคต
ประเภทของความรู้
ความรู้สามารถแบ่งออกได้สองประเภท คือ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และความรู้แฝงเร้นหรือความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) ความรู้ชัดแจ้งเป็นความรู้ที่ถูกบรรยายออกมาเป็นตัวอักษร เช่นคู่มือปฏิบัติงาน หนังสือ วารสาร เป็นต้น ส่วนความรู้แฝงเร้นเป็นความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวบุคคล ส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้ที่แฝงเร้นเป็นความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวบุคคล ส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้ที่แฝงเร้นอาจอยู่ในในบุคคลที่ทำงานในองค์กรหรือแผนกต่าง ๆ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในแต่ละด้าน จึงต้องอาศัยกลไกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งก็คือ การจัดการความรู้
1. ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่จัดการรวบรวมได้ง่าย มีการจัดระบบและถ่ายโอนโดยใช้วิธีการทางดิจิทัล มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective)เป็นแนวคิดและทฤษฏี สามารถแปลงเป็นรหัสในการถ่ายทอดโดยวิธีการที่เป็นทางการ เช่น นโยบายขององค์กร แนวคิดวิธีการในการทำงาน เป็นต้น
2. ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้เป็นคำพูดได้ เป็นความรู้ที่มีรากฐานมาจากการกระทำและประสบการณ์ในวิถีการดำรงชีวิต อาจมีลักษณะเป็นความเชื่อ ทักษะเช่น ทักษะในการประกอบอาชีพ ทักษะในการจักรสาน เป็นต้น ความรู้แบบฝักลึกต้องการการฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชำนาญลักษณะเป็นเรื่องเฉพาะส่วนบุคคล เช่น วัฒนธรรมองค์กร ทักษะ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านในเรื่องต่างๆ เป็นต้น
ระดับความรู้
ระดับที่ 1 : Know-what (รู้ว่า คืออะไร) เป็นความรู้ในเชิงการรับรู้
ระดับที่ 2 : Know- how (รู้วิธีการ) เป็นความสามารถในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ
ระดับที่ 3 : Know – why (รู้เหตุผล) เป็นความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ในเชิงเหตุผลที่ซับซ้อน ซึ่งอยู่ภายใต้เหตุการณ์และสถานการณ์ต่าง ๆ ความรู้ในระดับนี้สามารถพัฒนา
ได้บนพื้นฐานของประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหา
ระดับที่ 4 : Care-why (ใส่ใจกับเหตุผล) เป็นความรู้ในลักษณะการสร้างสรรค์ที่มาจากตัวเอง บุคคลที่มีความรู้ในระดับนี้จะมี เจตจำนง แรงจูงในและการปรับตัวเพื่อ
ความสำเร็จ
การจัดการความรู้ เป็นกระบวนการที่ช่วยรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์และกำหนดประเด็น รวมไปถึง การเผยแพร่องค์ความรู้ที่มีประโยชน์และมีความจำเป็นต่อการพัฒนา
และความเจริญก้าวหน้าขององค์กร
จุดมุงหมายของการจัดการความรู้
เป้าหมายหลักของการจัดการความรู้ คือ การใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ที่ได้มีการรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์และกำหนดประเด็น รวมไปถึงการเผยแพร่องค์ความรู้ เพื่อ
ประสิทธิภาพและความเจริญก้าวหน้าขององค์กร โดยผ่านการสนับสนุนจากเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่อใช้เก็บรวบรวมและเผยแพร่ วัตถุประสงค์โดยทั่วไป
ของการจัดการความรู้ มีดังต่อไปนี้
1. เพื่อให้องค์กรตระหนักและเห็นความสำคัญของความรู้ที่มีอยู่ในตัวของแต่ละบุคคล และในองค์กรโดยนำความรู้นั้นมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งในแง่ของการทำงานและวิถีการดำเนินชีวิต
2. มีการนำเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ เช่น การเผยแพร่องค์ความรู้ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน การนำระบบอินทราเน็ตมาใช้ในการติดต่อ และเปลี่ยนองค์ความรู้ภายในและระหว่างหน่วยงาน
3. เพื่อสร้างและพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายในองค์กร โดยการนำองค์ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ระบบการดูแลช่วย
เหลือผู้เรียนในสถานศึกษา ระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน เป็นต้น
ภาพจาก Web Site https://menchiearmillo.wordpress.com/2016/03/20/ikm-unit-3-assiggment-1/
ข้อมูลภาพ ณ วันที่ 17-2-62
ข้อมูลภาพ ณ วันที่ 17-2-62
แปล
ค้นพบความรู้: การพัฒนาอย่างชัดเจน หรือโดยปริยายความรู้ใหม่ จากข้อมูล หรือ จากการสังเคราะห์ความ
รวมการค้นพบความรู้ใหม่ที่ชัดเจน
ความรู้ที่ชัดเจนหรือใหม่ยิ่งซับซ้อนมีการสร้างรูปแบบหลายองค์ความรู้อย่างชัดเจนผ่านการบูรณาการและการจัดระบบ - การเขียนข้อเสนอ
การค้นพบทางสังคม
การค้นพบทางสังคมความรู้ใหม่ที่ชัดเจน
การสังเคราะห์โดยปริยายความรู้ข้ามบุคคลผ่านกิจกรรมร่วมกันแทนการเรียนการสอนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือทางวาจา
จับความรู้: กระบวนการในการดึงความรู้ชัดแจ้ง หรือโดยปริยายที่อยู่ในคน วัตถุ หรือหน่วยงานองค์กร
การสกัดความรู้ออกจากตัวคน - แปลงความรู้ฝังลึกเป็นความรู้ที่ชัดเจน Ex: ที่ปรึกษาด้านการเขียนเอกสารอธิบายบทเรียนที่ทีมงานได้เรียนรู้เกี่ยวกับ บริษัท ลูกค้า
การฝังหรือผนึกความรู้ แปลงความรู้ให้เป็นความรู้ฝังลึก Ex: ที่ปรึกษาด้านซอฟต์แวร์ใหม่อ่านหนังสือบนนวัตกรรม การพัฒนาซอฟต์แวร์ และเรียนรู้จากมัน
แบ่งปันความรู้: กระบวนการความรู้ที่ชัดแจ้ง หรือหรือจะแบ่งปันให้กับบุคคล
1. การถ่ายทอดที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้เข้าใจได้ดีพอ ที่จะทำ หรือมีความสามารถที่จะดำเนินการตามนั้น
2. แบ่งปันความรู้แนะนำตามความรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้
3. แบ่งปันความรู้ใช้สถานที่ในแต่ละบุคคล แผนก กลุ่ม องค์กร
- ความรู้ก่อให้เกิดประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรมากที่สุดเมื่อใช้การตัดสินใจ และดำเนินงาน
- ทิศทาง: การประมวลผลความรู้ของแต่ละบุคคลโดยตรงการกระทำของผู้อื่นโดยไม่ได้รับการถ่ายโอน
- การปฏิบัติ: การใช้ประโยชน์จากความรู้ที่ฝังอยู่ในขั้นตอนกฎระเบียบและแนวทางในพฤติกรรมในอนาคต
ประเภทของความรู้
ความรู้สามารถแบ่งออกได้สองประเภท คือ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และความรู้แฝงเร้นหรือความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) ความรู้ชัดแจ้งเป็นความรู้ที่ถูกบรรยายออกมาเป็นตัวอักษร เช่นคู่มือปฏิบัติงาน หนังสือ วารสาร เป็นต้น ส่วนความรู้แฝงเร้นเป็นความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวบุคคล ส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้ที่แฝงเร้นเป็นความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวบุคคล ส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้ที่แฝงเร้นอาจอยู่ในในบุคคลที่ทำงานในองค์กรหรือแผนกต่าง ๆ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในแต่ละด้าน จึงต้องอาศัยกลไกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งก็คือ การจัดการความรู้
1. ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่จัดการรวบรวมได้ง่าย มีการจัดระบบและถ่ายโอนโดยใช้วิธีการทางดิจิทัล มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective)เป็นแนวคิดและทฤษฏี สามารถแปลงเป็นรหัสในการถ่ายทอดโดยวิธีการที่เป็นทางการ เช่น นโยบายขององค์กร แนวคิดวิธีการในการทำงาน เป็นต้น
2. ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้เป็นคำพูดได้ เป็นความรู้ที่มีรากฐานมาจากการกระทำและประสบการณ์ในวิถีการดำรงชีวิต อาจมีลักษณะเป็นความเชื่อ ทักษะเช่น ทักษะในการประกอบอาชีพ ทักษะในการจักรสาน เป็นต้น ความรู้แบบฝักลึกต้องการการฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชำนาญลักษณะเป็นเรื่องเฉพาะส่วนบุคคล เช่น วัฒนธรรมองค์กร ทักษะ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านในเรื่องต่างๆ เป็นต้น
ระดับความรู้
ระดับที่ 1 : Know-what (รู้ว่า คืออะไร) เป็นความรู้ในเชิงการรับรู้
ระดับที่ 2 : Know- how (รู้วิธีการ) เป็นความสามารถในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ
ระดับที่ 3 : Know – why (รู้เหตุผล) เป็นความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ในเชิงเหตุผลที่ซับซ้อน ซึ่งอยู่ภายใต้เหตุการณ์และสถานการณ์ต่าง ๆ ความรู้ในระดับนี้สามารถพัฒนา
ได้บนพื้นฐานของประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหา
ระดับที่ 4 : Care-why (ใส่ใจกับเหตุผล) เป็นความรู้ในลักษณะการสร้างสรรค์ที่มาจากตัวเอง บุคคลที่มีความรู้ในระดับนี้จะมี เจตจำนง แรงจูงในและการปรับตัวเพื่อ
ความสำเร็จ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น