บทที่ 1 แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับการจัดการทางธุรกิจ
ความหมายของความรู้ของอาจารย์แต่ละท่าน
1. Ikujiro Nonaka
ได้ให้ความหมายของความรู้ไว้สองประเภทว่า
1. Tacit Knowledge เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวของแต่ละบุคคล
เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ต่างๆ
ซึ่งสื่อสารหรือถ่ายทอดในรูปแบบของตัวเลข สูตร หรือลายลักษณ์อักษรได้ยาก
ความรู้ชนิดนี้พัฒนาและแบ่งปันกันได้
และเป็นความรู้ที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
2. Explicit Knowledge ความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสาร และรายงานต่างๆ ซึ่งทำให้คนสามารถเข้าถึงได้ง่าย
2. Explicit Knowledge ความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสาร และรายงานต่างๆ ซึ่งทำให้คนสามารถเข้าถึงได้ง่าย
2. Hideo Yamazaki
ได้ให้ความหมายของความรู้ไว้ว่า
สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิดเปรียบเทียบ
เชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ
โดยไม่จำกัดช่วงเวลา
3. Davenport and Prusak
ได้ให้ความหมายของความรู้ไว้ว่าว่า
ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ
ที่เป็นสภาพแวดล้อมและกรอบการทำงานสำหรับการประเมินและรวมกันของประสบการณ์และสารสนเทศใหม่
4. Peter Senge
ได้ให้ความหมายจองความรู้ไว้ว่า
หาไม่เจอ
5. Peter Drucker
ได้ให้ความหมายจองความรู้ไว้ว่า
หาไม่เจอ
6. อ.ประเวช วะสี
ได้ให้ความหมายจองความรู้ไว้ว่า
ที่จำเป็นมี 4 ประเภทใหญ่ ๆ เรียกว่าปัญญา 4 หรือ
จตุรปัญญา คือ ความรู้ธรรมชาติที่ เป็นวัตถุ ( วิทยาศาสตร์กายภาพ )
ความรู้ทางสังคม ( วิทยาศาสตร์สังคม ) ความรู้ทางศาสนา ( วิทยาศาสตร์ข้างใน )
และความรู้เรื่องการจัดการซึ่งปัญญาที่เกิดจากความรู้ชนิดใดชนิดหนึ่งไม่เป็นการเพียงพอที่จะ
ทำให้เกิดดุลยภาพในสังคมเราจำเป็นต้องมีปัญญาอย่างบูราณาการ
การศึกษาและการวิจัยจำเป็นต้องคำนึงถึงปัญหาทุกด้านมิใช่ให้เรียนรู้เป็นส่วน ๆ
เพราะความรู้แบบแยกส่วนจะนำไปสู่การกระทำแบบแยกส่วนทำให้เกิดการเสียดุลยภาพและเกิดวิกฤติการณ์ขึ้น
การศึกษาเรียนรู้จำเป็นต้องให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบเชื่อมโยงเนื่องจาก
ในโลกแห่งความเป็นจริงนั้นเป็นโลกแห่งการเชื่อมโยงเป็นองค์รวม การจัดการเรียนรู้ควรจะไปให้ถึง 3 ระดับ คือ 1.) ระดับที่เกิดความรู้ ซึ้งหมายถึงการรู้ความจริง การที่บุคคลจะทำอะไรให้สำเร็จได้บุคคลนั้นต้องรู้และใช้ความจริง ความรู้ต้องเป็นความจริงเพราะการใช้ความจริงทำให้ทำได้ถูกต้อง การให้ผู้เรียนสัมผัสความจริงเท่ากับ เป็นการให้ผู้เรียนมีความรู้ระดับเบื้องต้น 2.) ระดับที่เกิดปัญญา เป็นระดับที่ผู้เรียนสามารถบูรณาการหรือเชื่อมโยงความรู้ใน 4 ด้านดังกล่าวข้างต้นและนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิต 3.) ระดับที่เกิดจิตสำนึก คือ การเกิดความเข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ และเข้าใจตัวเองว่าสัมพันธ์กับสรรพสิ่งอย่างไร ประเวศ วะสีท่านได้กล่าวต่อไปว่า จริยธรรมจะเกิดแก่บุคคลต่อเมื่อบุคคลนั้นได้บรรลุการเรียนรู้ทั้ง 3 ระดับดังกล่าวจึงควรมีการปฎิรูปการเรียนให้มาเน้นการสัมผัส ความจริงการคิดและการจัดการให้มากขึ้นทุกระดับ
ในโลกแห่งความเป็นจริงนั้นเป็นโลกแห่งการเชื่อมโยงเป็นองค์รวม การจัดการเรียนรู้ควรจะไปให้ถึง 3 ระดับ คือ 1.) ระดับที่เกิดความรู้ ซึ้งหมายถึงการรู้ความจริง การที่บุคคลจะทำอะไรให้สำเร็จได้บุคคลนั้นต้องรู้และใช้ความจริง ความรู้ต้องเป็นความจริงเพราะการใช้ความจริงทำให้ทำได้ถูกต้อง การให้ผู้เรียนสัมผัสความจริงเท่ากับ เป็นการให้ผู้เรียนมีความรู้ระดับเบื้องต้น 2.) ระดับที่เกิดปัญญา เป็นระดับที่ผู้เรียนสามารถบูรณาการหรือเชื่อมโยงความรู้ใน 4 ด้านดังกล่าวข้างต้นและนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิต 3.) ระดับที่เกิดจิตสำนึก คือ การเกิดความเข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ และเข้าใจตัวเองว่าสัมพันธ์กับสรรพสิ่งอย่างไร ประเวศ วะสีท่านได้กล่าวต่อไปว่า จริยธรรมจะเกิดแก่บุคคลต่อเมื่อบุคคลนั้นได้บรรลุการเรียนรู้ทั้ง 3 ระดับดังกล่าวจึงควรมีการปฎิรูปการเรียนให้มาเน้นการสัมผัส ความจริงการคิดและการจัดการให้มากขึ้นทุกระดับ
7.อ.วิจารณ์ พานิช
ได้ให้ความหมายจองความรู้ไว้ว่าหาไม่เจอ
ได้ให้ความหมายจองความรู้ไว้ว่า
โมเดลปลาประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนหัว ส่วนตัว และส่วนหาง
ส่วนหัวปลา เรียกว่า KV ย่อมาจาก Knowledge Vision หมายถึงส่วนที่เป็นวิสัยทัศน์ หรือเป็นทิศทางของการจัดการความรู้ กล่าวคือ ส่วนหัวจะทำหน้าที่มองว่ากำลังจะไปทางไหนต้องตอบได้ว่า "ทำ KM ไปเพื่ออะไร"
ส่วนตัวปลา เรียกว่า KS ย่อมาจาก Knowledge Sharing หมายถึงส่วนที่เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจ และเป็นส่วนที่ยากลำบากที่สุดในกระบวนการทำ KM เพราะต้องเกิดจากปัจจัย และสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมให้คนพร้อมที่จะแบ่งปันและเรียนรู้ร่วมกัน
ส่วนหางปลา เรียกว่า KA ย่อมาจาก Knoeledge Assets หมายถึงส่วนที่เป็นเนื้อหาความรู้ที่เก็บสะสมไว้เป็น "คลังความรู้" หรือ "ขุมความรู้"
ส่วนหัวปลา เรียกว่า KV ย่อมาจาก Knowledge Vision หมายถึงส่วนที่เป็นวิสัยทัศน์ หรือเป็นทิศทางของการจัดการความรู้ กล่าวคือ ส่วนหัวจะทำหน้าที่มองว่ากำลังจะไปทางไหนต้องตอบได้ว่า "ทำ KM ไปเพื่ออะไร"
ส่วนตัวปลา เรียกว่า KS ย่อมาจาก Knowledge Sharing หมายถึงส่วนที่เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจ และเป็นส่วนที่ยากลำบากที่สุดในกระบวนการทำ KM เพราะต้องเกิดจากปัจจัย และสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมให้คนพร้อมที่จะแบ่งปันและเรียนรู้ร่วมกัน
ส่วนหางปลา เรียกว่า KA ย่อมาจาก Knoeledge Assets หมายถึงส่วนที่เป็นเนื้อหาความรู้ที่เก็บสะสมไว้เป็น "คลังความรู้" หรือ "ขุมความรู้"
สรุป
ความรู้คืออะไร
บางคนบอกการที่เราเรียนจบปริญญาตรี โท เอก ไงคือ คนมีความรู้
ถ้าฉะนั้นให้คนจบตรีโทเอก ไปเดินป่าโดยไม่หลงทางได้หรือไม่ เพราะเช่นนั้น
ความรู้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะห้องเรียน แต่ความรู้นั้นเกิดขึ้นรอบๆตัวเรา จากการเรียน
การค้นคว้า ความคุ้นเคย ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ เป็นต้น
จากเรื่องรอบๆตัวเพราะฉะนั้นความรู้ให้ความคิดของผมคือการใช้ชีวิตของแต่ละคนที่ผ่านกระบวนการกลั่นกรองสาระที่สามารถศึกษาต่อได้นั่นคือความหมายของคำว่า“ความรู้”ของผม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น