บทที่4 องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization-Lo)
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)หมายถึง องค์กรที่มีการจัดการความรู้ในการปรับเปลี่ยน และค้นหาวิธีใหม่ๆในการผลิตผลิตภัณฑ์ หรือ บริการ อันจะนำมาซึ่งการเพิ่มประสิทธิผลในการดำเนินงานขององค์กร โดยแบ่งองค์ประกอบของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ออกเป็น 5 ด้าน ดังนี้
1. การปรับเปลี่ยนองค์กร (Organization Transformation) หมายถึง สถานที่และลักษณะทางกายภาพซึ่งทำให้เกิดการเรียนรู้ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ วัฒนธรรม กลยุทธ์ และโครงสร้างขององค์กร
2. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) หมายถึง กระบวนการที่เป็นระบบในการสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยน ใช้ความรู้/แนวทางปฏิบัติที่ดีในการทำงานเพื่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร และมีการจัดเก็บเป็นคลังความรู้ขององค์กรต่อไป
3. เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ (Learning Technology) หมายถึง ระบบการเรียนรู้และสนับสนุนการทำงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4. การให้อำนาจแก่บุคคล (People Empowerment) หมายถึง การให้อำนาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการปฏิบัติการแก่บุคลากร
5. พลวัตการเรียนรู้ (Learning Dynamic) หมายถึง ความหลากหลายของการเรียนรู้ ได้แก่ การเรียนรู้ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร การเรียนรู้จากการปรับตัว การคาดการณ์ การเรียนรู้และการปฏิบัติโดยใช้ทักษะการเรียนรู้ เช่น แบบแผนทางความคิด (Mental Model) การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) การคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking) และการสนทนาอย่างมีแบบแผน (Dialogue)
คำถามกรณีศึกษา
1. ให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศิริราช บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด และบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) โดยทำการเปรียบเทียบ ในประเด็นต่างๆ ดังนี้
-เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ขององค์กร
เพื่อนำไปพัฒนาการจัดการความรู้ในองค์กรให้ เหมาะสมกับการบริหารจัดการและวัฒนธรรมองค์กรของคณะฯ สามารถใช้ความรู้ในองค์กรของตนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนน ามาใช้เป็นประโยชน์ในการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและพัฒนาองค์กรไปสู่ความเป็น เลิศ
-วิธีการดำเนินการจัดการความรู้ในองค์กร
ในระยะโครงการนำร่อง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลเลือกหัวข้อ “การทำ CQI (Continuous Quality Improvement) ทางคลินิก” มาดำเนินการจัดการความรู้ตามแนวทางโครงการ “การจัดการความรู้ในองค์กร” ของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ เพราะเห็นว่าที่ผ่านมาแม้ว่าทีม ดูแลผู้ป่วยจะมีโครงการพัฒนาคุณภาพมากมาย แต่ความรู้เหล่านั้นจะอยู่เฉพาะในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานกลุ่มเล็กๆ เท่านั้น ถ้ามีช่องทางหรือเวทีให้กลุ่มต่างๆ น าองค์ความรู้มาแลกเปลี่ยนกัน ก็จะท าให้การดูแลผู้ป่วยมีการพัฒนา อย่างรวดเร็วกว้างขวางขึ้น โดยตั้งเป้าหมาย (Desired state) ว่า “มีระบบเครือข่ายของการถ่ายโอนความรู้ด้าน CQI ทางคลีนิก เพื่อให้มี best practice ในการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาลศิริราช
-ปัจจัยเงื่อนไขแห่งความสำเร็จในการจัดความรู้ขององค์กรหรือการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
2. ให้วิเคราะห์ว่าในกระบวนการของการจัดการความรู้ องค์กรทั้ง 3 แห่ง ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศอะไรบ้าง มาใช้ประโยชน์สำหรับการสร้าง การแลกเปลี่ยน และเผยแพร่ความรู้ได้อย่างไร
3. ให้นักศึกษาเข้าไปยังเว็บไซต์การจัดการความรู้ ของกรณีศึกษาข้างต้น และศึกษาเนื้อหาข้อมูลข่าวสารบนเว็บที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ ว่ามีอยู่ในหัวข้อเว็บเพจใด มีเนื้อหาอะไรบ้าง
1. การปรับเปลี่ยนองค์กร (Organization Transformation) หมายถึง สถานที่และลักษณะทางกายภาพซึ่งทำให้เกิดการเรียนรู้ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ วัฒนธรรม กลยุทธ์ และโครงสร้างขององค์กร
2. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) หมายถึง กระบวนการที่เป็นระบบในการสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยน ใช้ความรู้/แนวทางปฏิบัติที่ดีในการทำงานเพื่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร และมีการจัดเก็บเป็นคลังความรู้ขององค์กรต่อไป
3. เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ (Learning Technology) หมายถึง ระบบการเรียนรู้และสนับสนุนการทำงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4. การให้อำนาจแก่บุคคล (People Empowerment) หมายถึง การให้อำนาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการปฏิบัติการแก่บุคลากร
5. พลวัตการเรียนรู้ (Learning Dynamic) หมายถึง ความหลากหลายของการเรียนรู้ ได้แก่ การเรียนรู้ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร การเรียนรู้จากการปรับตัว การคาดการณ์ การเรียนรู้และการปฏิบัติโดยใช้ทักษะการเรียนรู้ เช่น แบบแผนทางความคิด (Mental Model) การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) การคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking) และการสนทนาอย่างมีแบบแผน (Dialogue)
คำถามกรณีศึกษา
1. ให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศิริราช บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด และบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) โดยทำการเปรียบเทียบ ในประเด็นต่างๆ ดังนี้
-เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ขององค์กร
เพื่อนำไปพัฒนาการจัดการความรู้ในองค์กรให้ เหมาะสมกับการบริหารจัดการและวัฒนธรรมองค์กรของคณะฯ สามารถใช้ความรู้ในองค์กรของตนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนน ามาใช้เป็นประโยชน์ในการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและพัฒนาองค์กรไปสู่ความเป็น เลิศ
-วิธีการดำเนินการจัดการความรู้ในองค์กร
ในระยะโครงการนำร่อง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลเลือกหัวข้อ “การทำ CQI (Continuous Quality Improvement) ทางคลินิก” มาดำเนินการจัดการความรู้ตามแนวทางโครงการ “การจัดการความรู้ในองค์กร” ของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ เพราะเห็นว่าที่ผ่านมาแม้ว่าทีม ดูแลผู้ป่วยจะมีโครงการพัฒนาคุณภาพมากมาย แต่ความรู้เหล่านั้นจะอยู่เฉพาะในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานกลุ่มเล็กๆ เท่านั้น ถ้ามีช่องทางหรือเวทีให้กลุ่มต่างๆ น าองค์ความรู้มาแลกเปลี่ยนกัน ก็จะท าให้การดูแลผู้ป่วยมีการพัฒนา อย่างรวดเร็วกว้างขวางขึ้น โดยตั้งเป้าหมาย (Desired state) ว่า “มีระบบเครือข่ายของการถ่ายโอนความรู้ด้าน CQI ทางคลีนิก เพื่อให้มี best practice ในการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาลศิริราช
-ปัจจัยเงื่อนไขแห่งความสำเร็จในการจัดความรู้ขององค์กรหรือการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
2. ให้วิเคราะห์ว่าในกระบวนการของการจัดการความรู้ องค์กรทั้ง 3 แห่ง ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศอะไรบ้าง มาใช้ประโยชน์สำหรับการสร้าง การแลกเปลี่ยน และเผยแพร่ความรู้ได้อย่างไร
3. ให้นักศึกษาเข้าไปยังเว็บไซต์การจัดการความรู้ ของกรณีศึกษาข้างต้น และศึกษาเนื้อหาข้อมูลข่าวสารบนเว็บที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ ว่ามีอยู่ในหัวข้อเว็บเพจใด มีเนื้อหาอะไรบ้าง
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น